เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย

เครือข่ายไร้สายอาจมีอัตราความเร็วประมาณเทียบเท่ากับบางเครือข่ายใช้สาย เช่นเครือข่ายที่ใช้ asymmetric digital subscriber line (ADSL) หรือเคเบิลโมเด็ม เครือข่ายไร้สายยังสามารถเป็นแบบสมมาตร หมายถึงอัตราเดียวกันทั้งสองทิศทาง (ดาวน์โหลดและอัปโหลด) ซึ่งมีความสัมพันธ์มากที่สุดกับเครือข่ายไร้สายอยู่กับที่ เครือข่ายไร้สายอยู่กับที่เป็นการเชื่อมต่อไร้สายที่ผู้ใช้ไม่เคลื่อนที่ ซึ่งสามารถรองรับอัตราการส่งข้อมูลที่สูงขึ้นด้วยการใช้พลังงานเท่ากันกับระบบโทรศัพท์มือถือหรือดาวเทียม
มีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WISPs) ไม่มากที่ให้ความเร็วในการดาวน์โหลดกว่า 100 Mbit/s;. บริการการเข้าถึงบรอดแบนด์ไร้สาย (Broadband Wireless Access, BWA) ส่วนใหญ่คาดว่าจะอยู่ในระยะ 50 กิโลเมตร (31 ไมล์) จากเสาส่ง เทคโนโลยีที่ใช้รวม LMDS และ MMDS เช่นเดียวกับการใช้งานหนักของแถบ ISM และเทคโนโลยีการเข้าถึงโดยเฉพาะเป็นมาตรฐาน IEEE 802.16 โดยมีผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า WiMAX.
WiMAX เป็นที่นิยมอย่างมากในทวีปยุโรป แต่ยังไม่พบการยอมรับอย่างเต็มที่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเพราะค่าใช้จ่ายของการติดตั้งไม่ได้ตามตัวเลขผลตอบแทนการลงทุน ในปี 2005 Federal Communications Commission จัดทำรายงานและระเบียบที่ปรับปรุงกฎของเอฟซีซีที่จะเปิดช่วง 3650 เมกะเฮิรตสำหรับการดำเนินงานบรอดแบนด์ไร้สายทั่วโลก.

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

ระบบ RFID คืออะไร?

RFID ย่อมาจากคำว่า Radio Frequency Identification เป็นระบบฉลากที่ได้ถูกพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 โดยที่อุปกรณ์ RFID ที่มีการประดิษฐ์ขึ้นใช้งานเป็นครั้งแรกนั้น เป็นผลงานของ Leon Theremin ซึ่งสร้างให้กับรัฐบาลของประเทศรัสเซียในปี ค.ศ. 1945 ซึ่งอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาในเวลานั้นทำหน้าที่เป็นเครื่องมือดักจับสัญญาณ ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นตัวระบุเอกลักษณ์อย่างที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน
RFID ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ที่สามารถอ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุจากระยะห่าง เพื่อตรวจ ติดตามและบันทึกข้อมูลที่ติดอยู่กับป้าย ซึ่งนำไปฝังไว้ในหรือติดอยู่กับวัตถุต่างๆเช่น ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรือสิ่งของใดๆ สามารถติดตามข้อมูลของวัตถุ 1 ชิ้นว่า คืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็นผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน และเมื่อไร ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนกี่ชิ้น และแต่ละชิ้นมาจากที่ไหน รวมทั้งตำแหน่งที่ตั้งของวัตถุนั้น ๆ ในปัจจุปันว่าอยู่ส่วนใดในโลก โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรือต้องเห็นวัตถุนั้นๆ ก่อน ทำงานโดยใช้เครื่องอ่านที่สื่อสารกับป้ายด้วยคลื่นวิทยุในการอ่านและเขียนข้อมูล RFID มีข้อได้เปรียบเหนือกว่าระบบบาร์โค้ดดังนี้
w
มีความละเอียด และสามารถบรรจุข้อมูลได้มากกว่า ซึ่งทำให้สามารถแยกความแตกต่างของสินค้าแต่ละ ชิ้นแม้จะเป็น SKU (Stock Keeping Unit – ชนิดสินค้า) เดียวกันก็ตาม
ความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแถบ RFID เร็วกว่าการอ่านข้อมูลจากแถบบาร์โค้ดหลายสิบเท่า
สามารถอ่านข้อมูลได้พร้อมกันหลาย ๆ แถบ RFID
สามารถส่งข้อมูลไปยังเครื่องรับได้โดยไม่จำเป็นต้องนำไปจ่อในมุมที่เหมาะสมอย่างการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Non-Line of Sight)
ค่าเฉลี่ยของความถูกต้องของการอ่านข้อมูลด้วยเทคโนโลยี RFID นั้นจะอยู่ที่ประมาณ 99.5 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ความถูกต้องของการอ่านข้อมูลด้วยระบบบาร์โค้ดอยู่ที่ 80 เปอร์เซ็นต์
สามารถเขียนทับข้อมูลได้ จึงทำให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งจะลดต้นทุนของการผลิตป้ายสินค้า ซึ่งคิดเป็นประมาณ 5% ของรายรับของบริษัท
สามารถขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นจากการอ่านข้อมูลซ้ำที่อาจเกิดขึ้นจากระบบบาร์โค้ด
ความเสียหายของป้ายชื่อ (Tag) น้อยกว่าเนื่องจากไม่จำเป็นต้องติดไว้ภายนอกบรรจุภัณฑ์
ระบบความปลอดภัยสูงกว่า ยากต่อการปลอมแปลงและลอกเลียนแบบ
ทนทานต่อความเปียกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

พระพุทธศาสนา

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

แหล่งเตาโบราณ อำเภอบ้านกรวด จ.บุรีรัมย์

ในบริเวณอำเภอบ้านกรวด ซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ไปตามทางหลวงหมายเลข 2075 ประมาณ 66 กิโลเมตร นักโบราณคดีได้สำรวจพบเตาเผา และเครื่องปั้นดินเผาโบราณจำนวนมาก 000

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

แหล่งท่องเที่ยวบุรีรัมย์

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

การแสดงแสงสีเสียง พนมรุ้งมหาเทวาลัย ปี 2556

โพสท์ใน สังคมศึกษา | ใส่ความเห็น

พุทธวจน

Untitled-1

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

วันวาเลนไทน์

วาเลนไทน์

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

Hello world!

Welcome to WordPress.com! This is your very first post. Click the Edit link to modify or delete it, or start a new post. If you like, use this post to tell readers why you started this blog and what you plan to do with it.

Happy blogging!

โพสท์ใน Uncategorized | 1 ความเห็น